คติชนวิทยา

Categories: HU MOOC
Wishlist Share
Share Course
Page Link
Share On Social Media

About Course

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และการแบ่งประเภทของคติชน รูปแบบ และบทบาทหน้าที่ของคติชนประเภทต่าง ๆ รวมทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรในแต่ละท้องถิ่น ขนบนิยม  ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สะท้อนภาพสังคม ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนามและการวิเคราะห์เนื้อหาเบื้องต้น แนวการศึกษาและวิธีการศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

What Will You Learn?

  • เพื่อให้นักศึกษาอธิบายถึงประวัติความเป็นมา ความหมาย และขอบข่ายของวิชาคติชนวิทยาได้
  • เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงประเภทและลักษณะของข้อมูลคติชนวิทยา
  • เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถอธิบายจุดเด่นของข้อมูลคติชนวิทยาในแต่ละภูมิภาคได้
  • เพื่อให้นักศึกษาสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานข้อมูลคติชนวิทยาประเภทต่าง ๆ ได้
  • เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลคติชน และนำเสนอผลงานศึกษาเกี่ยวกับคติชนวิทยาประเภทต่าง ๆ

Course Content

แบบทดสอบก่อนเรียน

  • Exam 1

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และการแบ่งประเภทของคติชน รูปแบบ และบทบาทหน้าที่ของคติชนประเภทต่าง ๆ รวมทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรในแต่ละท้องถิ่น ขนบนิยม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สะท้อนภาพสังคม ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนามและการวิเคราะห์เนื้อหาเบื้องต้น แนวการศึกษาและวิธีการศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

บทที่ 2 การจำแนกข้อมูล คติชนวิทยา
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และการแบ่งประเภทของคติชน รูปแบบ และบทบาทหน้าที่ของคติชนประเภทต่าง ๆ รวมทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรในแต่ละท้องถิ่น ขนบนิยม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สะท้อนภาพสังคม ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนามและการวิเคราะห์เนื้อหาเบื้องต้น แนวการศึกษาและวิธีการศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

บทที่ 3 การศึกษาและการรวบรวมข้อมูลคติชนวิทยา
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และการแบ่งประเภทของคติชน รูปแบบ และบทบาทหน้าที่ของคติชนประเภทต่าง ๆ รวมทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรในแต่ละท้องถิ่น ขนบนิยม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สะท้อนภาพสังคม ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนามและการวิเคราะห์เนื้อหาเบื้องต้น แนวการศึกษาและวิธีการศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

บทที่ 4 บทสัมภาษณ์พิเศษ “เพลงกล่อมเด็กภาคใต้”
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และการแบ่งประเภทของคติชน รูปแบบ และบทบาทหน้าที่ของคติชนประเภทต่าง ๆ รวมทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรในแต่ละท้องถิ่น ขนบนิยม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สะท้อนภาพสังคม ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนามและการวิเคราะห์เนื้อหาเบื้องต้น แนวการศึกษาและวิธีการศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

แบบทดสอบหลังเรียน

แบบประเมิน